- รายละเอียด
- ฮิต: 7985
นพ.ธวัชชัย กิระวิทยา
หน่วยกุมารเวชศาสตร์โรคหัวใจ
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
ภาวะหัวใจวายในเด็ก เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในโรคหัวใจและโรคระบบอื่นที่มีผลต่อการทำงานของหัวใจ และเป็นภาวะที่กุมารแพทย์และแพทย์เวชปฏิบัติต้องสามารถวินิจฉัยและให้การรักษาเบื้องต้น เพื่อให้เด็กพ้นขีดอันตราย และส่งต่อยังศูนย์โรคหัวใจเพื่อวินิจฉัยสาเหตุต่อไป
อย่างไรก็ตาม การวินิจฉัยและการรักษาอาจซับซ้อนและยากสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติที่ไม่ได้พบปัญหาผู้ป่วยเป็นประจำ และอาจผิดพลาดในการวินิจฉัยหรือรักษา ดังนั้นในบทความนี้จะรวบรวมข้อควรระวังและอาจผิดพลาดในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้
ข้อผิดพลาดที่อาจพบได้ ได้แก่
1. ผู้ป่วยที่มีปัญหาเหนื่อยหอบและสงสัยว่าจะมีปัญหาทางปอดอย่างเดียว หรือมีภาวะหัวใจวายอย่างเดียว หรือมีทั้ง 2 ภาวะร่วมกัน
2. การวินิจฉัยแต่ภาวะหัวใจวาย โดยไม่ได้ให้การรักษาสาเหตุที่เป็นต้นกำเนิดของภาวะ หรือทราบว่ามีโรคใดอยู่แต่มีปัญหาในการรักษาสาเหตุ
3. การวินิจฉัยจากการคาดเดาว่าน่าจะเป็นโรคที่พบบ่อยอยู่เสมอ
4. การวินิจฉัยโรค rheumatic carditis คลาดเคลื่อนว่าเป็น rheumatic heart disease หรือ valvular heart disease
5. ไม่ได้ monitor การเปลี่ยนแปลงของโรค
6. ไม่ได้แก้ไขสาเหตุปัจจัยเสริมที่ทำให้หัวใจวายเลวลง
7. การให้การรักษามากเกินความจำเป็น และอาจเป็นอันตราย
8. การวินิจฉัยหัวใจเต้นเร็วว่าจะเป็น sinus tachycardia หรือ supraventricular tachycardia
9. การไม่กล้าใช้ยาบางตัว อันเนื่องจากการขาดประสพการณ์ การใช้ยา
10. การให้ยาผิด ( medical error)
- รายละเอียด
- ฮิต: 1698

โรงพยาบาลกรุงเทพ
(หมายเหตุ: บทความเรื่องนี้ มี 2 ส่วน)
- รายละเอียด
- ฮิต: 36147

พญ.สุภาพร โรยมณี
เด็กชายไทยอายุ 8 ปี มีอาการเขียวตั้งแต่แรกเกิด ได้รับการวินิจฉัยเป็น tricuspid atresia, ventricular septal defect, patent arteriosus, pulmonary stenosis และได้รับการผ่าตัดทำ bilateral Glenn shunt เมื่อ 3 ปีก่อน oxygen saturation หลังผ่าตัด 80%
ผู้ป่วยมีปัญหาเขียวและเหนื่อยมากขึ้นมาประมาณ 1 ปี เขียวต้องนั่งยองๆ บ่อย
ตรวจร่างกาย : O2 sat 70%, PR 40/min, mild tachypnea and dyspnea
Single S2 with gr 4/6 SEM at LUSB, RV heave
Mild hepatomegaly, no edema
อะไรเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยรายนี้ มีอาการเขียวมากขึ้น และจะมีแผนการรักษาผู้ป่วยรายนี้ อย่างไร?
- รายละเอียด
- ฮิต: 36063
MANAGEMENT OF COMMON CONGENITAL HEART DISEASEผศ.นพ.วรการ พรหมพันธุ์
บทความนี้ เป็นแนวทางในการดูแลรักษา Congenital heart diseases สำหรับแพทย์ โดยจำแนกตามโรคที่พบบ่อย ได้แก่ ASD, VSD, PDA, และ TOF